skip to main |
skip to sidebar
วันอัฏฐมี คือวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ ถือเป็นวันที่ตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระเป็นวันที่ชาวพุทธต้องวิปะโยคและสูญเสียพระบรมสรีระแห่งองค์พระบรมศาสดา ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงยิ่ง และเป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกพระพุทธคุณของพระพทุธเจ้า
ประเพณีชักพระ บางพื้นเมืองเรียกว่า "ประเพณีลากพระ " เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ได้มีการสืบสายกันมาตั้งแต่สมัยศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นหนแรกในอินเดีย มีพุทธตำนานเล่าขานสืบสายกันมาว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7 พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้าของแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ได้เสด็จกลับมายังโลก ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งคอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3 เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับ จึงได้รับเสด็จและได้นำอาหารคาวหวานไปถวายด้วย ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไปถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความอนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจำประเพณีทำด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น
จังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของไทย ในสมัยสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชรมีฐานะเป็นเมืองด่านต้องคอยรับศึกสงครามอยู่เสมอ จึงได้มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลงเหลืออยู่ให้เห็นมากมายในปัจจุบันนี้ เช่น วัดโบราณ ป้อมปราการ คูเมือง กำแพงเมือง เป็นต้น ทำให้จังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองศูนย์รวมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย
Twitter
หน้าเว็บ
ประเพณีไทย
แหล่งรวบรวมประเพณีไทยในแต่ละภาค ไม่ว่าจะเป็นภาคเหนือ กลาง อีสาน หรือภาคใต้ วัฒนะธรรม การละเล่นต่างๆ ในแต่ละท้องถิ่น
วันพุธที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ประเพณีอัฐมีบูชา
วันอัฏฐมี คือวันแรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ ถือเป็นวันที่ตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระเป็นวันที่ชาวพุทธต้องวิปะโยคและสูญเสียพระบรมสรีระแห่งองค์พระบรมศาสดา ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาอย่างสูงยิ่ง และเป็นวันควรแสดงธรรมสังเวชและระลึกพระพุทธคุณของพระพทุธเจ้า
ประเพณีชักพระ วัฒนธรรมภาคใต้
ประเพณีชักพระ บางพื้นเมืองเรียกว่า "ประเพณีลากพระ " เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ได้มีการสืบสายกันมาตั้งแต่สมัยศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นหนแรกในอินเดีย มีพุทธตำนานเล่าขานสืบสายกันมาว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7 พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้าของแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ได้เสด็จกลับมายังโลก ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งคอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3 เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับ จึงได้รับเสด็จและได้นำอาหารคาวหวานไปถวายด้วย ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไปถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความอนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจำประเพณีทำด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
ประเพณีนบพระเล่นเพลง จังหวัดกําแพงเพชร
จังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์แห่งหนึ่งของไทย ในสมัยสุโขทัย จังหวัดกำแพงเพชรมีฐานะเป็นเมืองด่านต้องคอยรับศึกสงครามอยู่เสมอ จึงได้มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลงเหลืออยู่ให้เห็นมากมายในปัจจุบันนี้ เช่น วัดโบราณ ป้อมปราการ คูเมือง กำแพงเมือง เป็นต้น ทำให้จังหวัดกำแพงเพชรเป็นเมืองศูนย์รวมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย
เกี่ยวกับฉัน
Tags
การลอยโขมด
การแห่นางแมว
เข้าพรรษา
โคมลอย
ตักบาตรเทโว
ปฏิทินสุริยคติ
ประเทศไทย
ประเพณีตรุษจีน
ประเพณีนบพระเล่นเพลง
ประเพณีภาคเหนือ
ประเพณีลากพระ
ประเพณีวันลอยกระทง
ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ประเพณีอัฐมีบูชา
พระเกตุแก้วจุฬามณี
พระบรมธาตุหริภุญชัย
พระแม่คงคา
แม่น้ำนัมทามหานที
รอยพระพุทธบาท
วัฒนธรรมภาคใต้
วันขึ้นปีใหม่
วันปวารณา
วันเพ็ญเดือนสิบสอง
วันลอยกระทง
วันสงกรานต์
วิสาขบูชา
สมัยพุทธกาล
ออกพรรษา
เฮือไฟ
สถิติเว็บไซต์
ขับเคลื่อนโดย Blogger.